วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ทุนนิยม ความโลภ กับโลกของเรา

บางครั้งเงินก็ทำลายโลกที่น่าอยู่ เมื่อพูดถึงเรื่องเงินกันแล้ว ก็ดูเหมือนกับว่ามันเป็นส่วนหนึ่งที่จำเป็นในชีวิตประจำวันไปแล้ว เพราะทุกคนย่อมกิน ย่อมใช่บริการ หรือเมื่อต้องการสิ่งอะไรบางอย่าง
เงินยังมีผลทำให้ประเทศหรือสถานที่นั้นๆมีความเจริญมากขึ้น ในทางด้านเศรษฐกิจและสิ่งก่อสร้างมากมาย หรือแม้ทำให้คนนั้นสามารถจับจ่ายซื้อเสื้อผ้าสวยๆ รถส่วนตัว และ smartphone ลองเปรียบเทียบในกรุงเทพฯมีเงินในการลงทุนมากกว่าต่างจังหวัด กรุงเทพจึงมีตึกสูงๆ ห้างสรรพสินค้ามากมาย มีอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง มีสถานที่ท่องเที่ยวล้ำสมัย มีรถไฟใต้ดิน และยังสร้างงานกับเงินให้ชาวบ้านได้อีก ฯลฯ (แต่ไม่มีภูเขาที่เต็มไปด้วยต้นไม้ใหญ่) พอฟังดูแล้วเงินนั้นเปรียบเสมือนปัจจัยที่ 5 (หรือพระเจ้าไปแล้ว ฮ่าๆ) ในชีวิตเราไปแล้ว

แต่ลองคิดดูนะ ถ้าเงินทำอะไรได้ทุกอย่างประมาณนี้แล้ว สำหรับคนที่มีความต้องการมากก็ต้องจำเป็นที่จะต้องใช่มากเช่นกัน ซึ่งจะทำให้พวกเขาต้องหามาด้วยการลงทุน (เคยได้ยินคำนี้หรือไม่ "ล้านแรกหายาก แต่ล้านต่อไปหาง่าย") และยิ่งถ้าเขายอมทำทุกอย่างที่เห็นแก่ตัวเพื่อความได้มาเพื่อสิ่งเหล่านั้นแล้ว และก็มีความน่ากลัวเหมือนกัน

ในตัวอย่าง ประเทศแคนนาดามีป่าโบราณแห่งหนึ่งซึ่งในฟืนดินนี้เป็นดินทรายที่ปนกับน้ำมันดิบ แต่เมื่อพอนักลงทุนผู้เห็นโอกาสที่จะทำเงินก็ไม่สนใจอะไรทั้งนั้น ก็ได้สั่งคน(ด้วยเงินของเขา)ให้ตัดป่านั้นทิ้งแล้วนำทรายมาสกัดออกมาเป็นน้ำมันขาย พลังงานที่ใช้ในการผลิตคือ ใช้ทุนน้ำมัน 1 บาร์เรลผลิตได้ 2 บาร์เรลเท่านั้น(พลังงานในโลกเราต้องลดลงเพื่อให้ได้ผลิตออกมาขาย เศร้า โลกร้อน) อีกทั้งสารพิษในกระบวนการผลิตก็ไม่ได้กำจัดและปล่อยลงแม่น้ำที่ชาวบ้านใช้ดื่ม T_T

ในอเมริกาสมัยจอร์จบุช เขาจะทำการเปิดเหมืองถ่านหินแถวที่ชนบททางตอนใต้ เหมืองที่ว่านี้ก็ได้สูบเอาน้ำกินน้ำใช้ของชาวบ้านไปมาก จึงมีกลุ่มคนแถวนั้นได้ออกมาประท่วงให้ปิดเหมือง (เศร้า อำนาจของเงินหรือคนกันนะ)


ใช่ว่าจะมีแค่เรื่องของสิ่งแวดล้อมเท่านั้น ในสมัยจอร์จบุช(เราไม่ได้เกียจเขานะ) เขาได้แก้กฎหมายการปล่อยให้ตลาดอนุพันธ์ไม่มีการถูกควบคุม เมื่อคนที่มาลงทุนย่อมหวังผลตอบแทนตามที่คาด(ส่วนใหญ่จะเป็นเงินพวกกองทุนเงินซึ่งเป็นเงินของมนุษย์เงินเดือน) แต่เมื่อกลุ่มคนโลภ ครอบรัป เหล่านั้นได้ปั่นมันแล้วประคมข่าวให้อนุพันธ์ของกองทุนเหล่านี้มีความน่าเชื่อถือและผลตอบแทนที่สูงขึ้น ต่างคนก็เขามาลงทุน แต่พอตลาดเริ่มพังกลุ่มคนเหล่านั้นก็ฉื่งเอาเงินไป โดยขายสัญญาด้านตรงข้ามเน่าๆทิ้งให้กับกองทุนเลี้ยงชีพสำหรับคนจน พร้อมด้วยข่าวที่ให้ความฝัน (รายละเอียดต้องไปอ่าน hamburger crisis หรือ หนัง inside job นะ)


และที่เห็นกันบ่อยๆ มีผลกับเรามากก็คือ วัฒนธรรมการใช่จ่าย เราจะเห็นว่าสำหรับคนจนแถบจะไม่มีสิทธิที่จะอุปโภคบางชนิดที่ดีได้มาก เช่น ยารักษาโรค การรักษาพยาบาลนั้นเป็นไปด้วยความลำบาก ถ้าไม่มีสวัสดิการที่ดีหรือไม่มีตังคนเหล่านั้นเมื่อถึงมือคนที่รักษาให้ได้แล้วแต่ก็จะไม่หายจากอาการป่วย เพราะว่าไม่มีอุปกรณ์หรือค่าแรงให้ ส่วนความรู้ทางการศึกษาก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกันที่ต้องใช้เงิน คนมีเงินน้อยการเข้าถึงการศึกษาที่ดีก็เป็นด้วยความลำบาก จากตัวอย่างคนในต่างประเทศบางคนมีโอกาสที่จะเรียนระดับมหาลัยได้ก็ยากอยู่เพราะค่าเทอมอันแสนแพงเหลือเกิน
มีตัวอย่างวัฒนธรรมการกินในสหรัฐฯ คนจนที่ทำงานมีเวลาน้อย ต้องเก็บเงินเพื่อครอบครัว อาหารที่กินจึงจำเป็นต้องประหยัด แล้วอาหารนั้นก็คือ hamburger มันง่ายและรวดเร็ด ส่วนประเภทผักหรืออาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการนั้นราคาของมันราคาสูงมาก พอคนที่กินอาหารขยะเหล่านั้นมากๆ ก็ทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้นมาได้ง่าย

แต่ใช่ว่าคนรวยจะเป็นแบบนี้กันทุกคน ตัวอย่างเช่น บิวเกลส์ เขาบริจาคหลายโครงการดีๆมากมาย เช่น โครงการสร้างแหล่งพลังงานทดแทน โครงการยารักษาโรคมะเร็ง หรือแม้กระทั้งการจัดการระบบสาธารณ(วิจัยส้วมที่บังคลาเทศ) "เท่าที่ผมรู้ก็แค่นี้แหละ"


สุดท้ายแล้วผมว่าเงินไม่ใช่ประเด็นที่ทำให้ทุกอย่างมันแย่นักหรอก เพราะเรื่องที่มันแย่ลง น่าจะเป็นความต้องการของคนมากกว่าละมั้ง

วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556

buddha quotes

Ariyatthamgikakaggapatham


This path is the noble path with eight factors.

Namely:

Sammaditthi: Right Understanding,

Sammasankappo: Right Aspiration,

Sammavaca: Right Speech,

Sammakammanto: Right Action,

Sammaajivo: Right Livelihood,

Sammavayamo: Right Effort,

Samma sati: Right Mindfulness,

Samma samadhi: Right Concentration,

Bhikkhus, what is right understanding?

Bhikkhus, Any knowledge which is insight into dukkha, Is insight into the cause of dukkha, Is insight into the dukkha's quenching, Is insight into the way to travel to dukkha's quenching.

Bhikkhus, This is called "right understanding."

Bhikkhus, what is right aspiration?

The aspiration toward renunciation, The aspiration toward non-illwill, The aspiration toward non-violence.

Bhikkhus, This is called "right aspiration."

Bhikkhus, what is right speech?

Abstention from false speech, Abstention from malicious speech, Abstention from coarse speech, Abstention from frivolous prattle and gossip.

Bhikkhus, This is called "right speech."

Bhikkhus, what is right action?

Abstention from killing, Abstention from taking what is not given, Abstention from improper sexual conduct.

Bhikkhus, This is called "right action."

Bhikkhus, what is right livelihood?

Bhikkhus, The disciple of the Noble Ones, In this training, Abandons wrong means of livelihood, And finds his living through right livelihood.

Bhikkhus, This is called "right livelihood."

Bhikkhus, what is right effort?

Bhikkhus, a bhikkhus in this Training, summons zeal and committment,

Strives, puts forth effort, maintains and estabilishes concentration, which have not arisen will not arise;

Summons purpose, strives, puts forth effort, carefully estabilishes the mind, in order to abandon harmful, unwholesome ahammas that have arisen;

Rouses intent, strives, exerts effort, fully commits the mind, In order to bring up wholesome dhammas which have not arisen.

Rouses purpose, strives, exerts effort, strongly commits the mind for the estabilishing and stabilization, not sliding, further growth, completion, development, perfection of wholesome dhammas which have arisen.

Bhikkhus, This is called "right effort."

Bhikkhus, what is right mindfulness?

Bhikkhus, a bhikkhus in this Training, Dwells contemplating body in bodies, Has defilement-burning effort, ready wisdom, and mindfulness; and remove liking and disliking toward the world.

Dwells contemplating feeling in feelings, Has defilement-burning effort, ready wisdom, and mindfulness; and pulls out liking and disliking toward the world.

Dwells contemplating mind in the mind; Has defilement-burning effort, ready wisdom, and mindfulness; and pulls out liking and disliking toward the world.

Dwells contemplating dhammas in dhammas; Has defilement-burning effort, ready wisdom, and mindfulness; and pulls out liking and disliking toward the world.

Bhikkhus, This is called "right mindfulness."

Bhikkhus, what is right concentration?

Bhikkhus, a bhikkhus in this Training, Free from sensuality, Free from unwholesome dhammas, Enters the first peering with noting and experiencing, there is the contentment and joy born of solitude, and dwells therein; Due to the calming away of noting and experiencing, Enters the second peering which is the mind's clarity within, makes the singular concentration appear, free of noting and experiencing, with only the contentment and joy born of concentration, and dwells therein; Due to the fading away of contentment, Dwells in equanimity, with mindfulness and ready wisdom, Experiences joy through the "mental body", Of the sort that the Noble Ones praise such a one, "Equanimous and mindful he dwells happily". Enter the third peering and dwells therein; Due to leaving [letting go of] joy behind, Leaving dukkha behind, Due to the disappearance of previous feelings of pleasure and pain, Enter the fourth peering, free of both dukkha and sukha, have only the nature of mindfulness purified through equanimity and dwell therein;

Bhikkhus, This is called "right concentration." 

ref : Santikaro Bhikkhu 

วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การหาบริเวณแอคทีฟในเอนไซม์อะมิเดสและความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการระหว่างเอนไซม์ที่สลายพันธะ เอไมด์กับเอนไซม์สลายพันธะเพปไทด

การศึกษาก่อนหน้าที่ใช้ตัวยับยั้งหลากหลายจัดเอนไซม์อะมิเดสอยู่ในกลุ่มของซัลไฮดริลเอนไซม์แต่ยังไม่มีการทดลองที่ยืนยันข้อสรุปดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงได้สร้างชุดของการทดลองการศึกษามิวเตชั่นแบบตรงจุดเอนไซม์อะมิเดสของ Rhodococcus rhodochrous J1 ที่เกี่ยวข้องในเมแทบอลิซึมของไนไตร์ลจากผลการทดลองพบว่ารีคอมบิแนท์อะมิเดสที่ผลิตใน Escherichia coli อยู่ในรูปของอินคลูชั่นบอดีซึ่งมีการแยกและทาบริสุทธิ์ต่อมา จากการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโนซีสเตอีนตาแหน่งที่203 (Cys203) ซึ่งคาดว่าเป็นบริเวณแอคทีฟ ของเอนไซม์อะมิเดสเป็นกรดอะมิโนอะลานีน (Aln) พบว่าเอนไซม์มีค่าแอคติวิตีจาเพาะเหลืออยู่ร้อยละ 11.5 จากค่าแอคติวิตีเดิม ในทางตรงกันข้ามการแทนที่กรดอะมิโนในตาแหน่งใกล้เคียงกับกรดอะมิโนซีสเตอีนตาแหน่งที่ 203ส่งผลต่อค่าแอคติวิตีจาเพาะของอะมิเดสมากขึ้น การแทนที่กรดอะมิโนแอสปาติกตาแหน่งที่191 (Asp191) ด้วยกรดอะมิโนกลูตามิก (Glu) สามารถลดค่าแอคติวิตีจาเพาะของเอนไซม์อะมิเดสลดลงเหลือร้อยละ 1.33 ของแอคติวิตีเดิม นอกจากนี้การแทนที่กรดอะมิโนแอสปาติกตาแหน่งที่ 191 (Asp191) ด้วยกรดอะมิโนแอสพาราจีนและการแทนที่กรดอะมิโนเซรีนตาแหน่งที่ 195 (Ser195) ด้วยกรดอะมิโนอะลานีนส่งผลยับยั้งค่าแอคติวิตีอย่างสมบูรณ์ซึ่งดูเหมือนว่าจากจานวนกรดอะมิโนภายในลาดับลายเซ็นในเอนไซม์อะมิเดสทั้งหมดพบว่ากรดอะมิโนที่เกี่ยวข้องกับบริเวณแอคทีฟที่แท้จริงของเอนไซม์อะมิเดสคือ กรดอะมิโนแอสปาติกตาแหน่งที่ 191 และกรดอะมิโนเซรีนตาแหน่งที่ 195 มากกว่ากรดอะมิโนซิสเทอีนตาแหน่งที่ 203และเนื่องจากพันธะเอไมด์(CO-NH2)ในสารตั้งต้นเอไมด์มีโครงสร้างที่ไม่ต่างกันมากจาก
พันธะเพปไทด์ (CO-NH-) และเมื่อเปรียบเทียบลาดับลายเซ็นของเอนไซม์อะมิเดสต่างๆกับบริเวณแอคทีฟของเอนไซม์โปรติเอสจะพบว่ากรดอะมิโนแอสปาติกและกรดอะมิโนเซรีนคือกรดอะมิโนแอสปาติกตาแหน่งที 191 และกรดอะมิโนเซรีนตาแหน่งที่ 195 ของเอนไซม์อะมิเดสจาก Rhodococcus อยู่ภายในลาดับกรดอะมิโนในบริเวณแอคทีฟของเอนไซม์แอสปาติกโปรติเนสซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของเอนไซม์ทั้งสองกลุ่ม

REF. Proc. Natl. Acad. Sci. USA pp (1997) 94, 11986-11991

วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2555

การเปิดการค้าเสรีของของสมาคมอาเซียนมีผลต่ออาชีพในประเทศไทยเราหรือไม่


คำตอบนั้นก่อน! จะตอบเราต้องดูตัวอย่างของ Eu ของยุโรปก่อน ขนาดยุโรปมีผลกระทบของอัตราการจ้างงานเพียงแค่5%เท่านั้นของการเปิดการค้าทางเสรีของประเทศของเราเพราะการทำงานระหว่างประเทศนั้นเราจำเป็นจะต้องมีคุณสมบัติตามของกำหนดของเขาก่อน เช่น จำเป็นจะต้องได้ใบรับรอง การสอบของภาษา เป็นต้น ดังนั้นเราจึงไม่ต้องกังวลใจว่าจะมีใครมาแย่งงานเรา อาชีพที่สามารถไปทำงานต่อต่างประเทศในข้อตกลงในที่นี้มีเพียงแค่ 7 อาชีพเท่านั้น 7 อาชีพที่ว่าก็คือ
1.หมอ จำเป็นจะต้องมีใบรับรองว่ารักษาแล้วไม่มีคนตาย,ต้องพูดสื่อสารกับคนไข้ได้(เป็นคนในประเทศที่จะไปนะจะได้รักษาถูก)
2.ทันตแพทย์
3.พยาบาล
4.วิศวกรรม ไม่ใช้วิศวะที่จบใหม่แล้วเข้าไปสมัครเลยนะต้องเป็นของบริษัทที่ส่งไปเท่านั้นนะ
5.สถาปัตยกรรม
6.นักสำรวจ น่าจะดีสำหรับคนไทยนะเพราะประเทศอย่างเช่น กัมพูชา พม่า ลาว เป็นต้น ประเทศเหล่านี้เป็นประเทศที่ปิดตัวยังไม่มีการใช้ทรัพยากรอยู่ทำให้มีแหล่งทรัพยากรที่จะสำรวจเป็นจำนวนมากพอสมควร เช่น น้ำมัน แร่ ทอง
7.บัญชี
ซึ่งอาชีพที่กล่าวมานี้นั้นเป็นอาชีพที่ขาดแคลนกันอยู่ในทุกประเทศ


ทำไมเราเห็นชาวต่างชาติมาทำงานในประเทศเราได้ละ?
มี 3 สถานะที่เข้ามา คือ 1.ผู้ลงทุนต่างประเทศ 2.เป็นครูชาวต่างชาติที่แรกเปลี่ยนเข้ามา 3.เป็นแรงงานต่างประเทศเข้ามามาก เพราะจากตัวเลขของอัตราลูกจ้างในประเทศไทยเราลดลงอีกทั้งค่าแรงในประเทศเราสูงขึ้นอีกด้วย

ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า คนงานต่างที่จะเข้าแย่งงานนั้นโอกาสที่จะทำได้นั้นยากพอควรซึ่งถ้าแย่งได้ก็ต้องเก่งกว่าเรามากๆหรือไม่ก็เจ้าของบริษัทเป็นขาวกัมพูชาเขาก็อาจจะจ้างคนของเขามากกว่าก็เป็นได้อันนี้ต้องระวังมากกว่าเดี๋ยวค่อยติดตามดู

แต่ผลกระทบนั้นมีผลต่อการค้านั้นเป็นส่วนใหญ่มากกว่า เช่น การเปิดตลาดลงทุนเสรี ละเว้นภาษีระหว่างประเทศในกลุ่มกันเอง จัดต้องกลุ่มการส่งออกของวัสดุ(การส่งออกของยางพารา ข้าว ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทำให้ประเทศในกลุ่มของเรานั้นสามารถตั้งราคาสิ้นค้าส่งออกได้เอง) แต่ผลของกระต่องานของเราก็ยังมีอยู่อย่างเช่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัทเอกชนนั้นสามารถเป็นของชาวต่างชาติได้มีต่อเราคือเมื่อชาวต่างชาติ(กัมพูชา)เป็นเจ้าของบริษัทใหญ่ในไทยทำให้เขาอาจจะใช้แรงงานในบ้านเขาไม่จ้างคนไทย(ถ้าฝีมือเราดีไม่พอ)ก็เป็นได้

จากการเปิดการค้าเสรีนั้นส่งผลกระทบของการเปลี่ยนฐานการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติได้ เพราะประเทศไทยเรานี้ค่าแรงสูงอีกทั้งประเทศเพื่อนบ้านของเรานั้นมีค่าแรงที่ต่ำกว่าและมีทรัพยากรที่ยั้งไม่ได้ใช้อยู่มากมาย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้มีโรงงานน้อยลงโดยการย้ายฐานการผลิตเท่ากับงานลดลงก็ได้ ตัวอย่างของประเทศที่น่ากลัวของอาเซียน เช่น พม่า(แต่ยังไม่แน่ไม่นอนเพราะยังไม่สงบสาธานูปโภคยังไม่ดีพอ)ประเทศนี้ถ้าเปิดประเทศมีผลดีมากๆคือมีทำเรที่เหมาเป็นประเทศที่เป็นทางผ่านของระหว่างจีนกับอินเดีย(จะมีลักษณะคล้ายกับสิงคโปร์)อีกทั้งยังมีทรัพยากรที่เหลือเฟือที่จะเป็นฐานการผลิตอีก ”น่าไปลงทุนจริงๆเลยประเทศนี้ถ้ามีตังนะ” แต่การย้ายฐานะผลิตนั้นส่วนใหญ่จะเป็นโรงงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานฝีมือเป็นส่วนใหญ่

ดังนั้น จำเป็นไหมที่พวกเราจะต้องรับมือกับเหตุการณ์เช่นนี้ โดยการพัฒนาตัวของเราให้มีคุณภาพให้มากขึ้นไปพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ เพราะถ้าตัวเรามีคุณภาพดีถ้าเป็นเจ้าของบริษัทจะจ่ายมากเท่าไรก็ไม่จำเป็น

วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555

ที่สวนจิตรลดา

นี้แค่เป็นส่วนหนึ่งของสวนจิตรลดา
โดยที่นี้มีการเข้าชมที่ฟรีครับไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆเลย
ที่นี้มีรับฝึกงานโดยที่มีเป็นศูนย์ให้ความรู้ที่ดีเลย
นี้เป็นส่วนของการทำน้ำมันไบโอดีเซล
เราสามารถดูศึกษาขบวนการทำได้ที่นี้
ขบวนการง่ายโดย
1.นำน้ำมันพืชที่ไม่ได้ใช้มาผลกับ NaOCH3 ซึ่งเป็นเบสที่แรงกว่า โซดาไฟ มีประสิทธิภาพดีกว่า
2.แล้วค่อยเติม ethanol ลงไปเพื่อสร้างพันธะเอสเทอร์ระหว่างกรดไขมันกับethanol แต่ที่ไปไม่ได้ถามเกี่ยวกับว่าต้องเติม ethanol ความเข้มข้น 50-70%ได้หรือไม่ถ้าได้จะดีมากเพราะการใช้ขบวนการที่ทำให้สารบริสุทธิมากจะทำให้เปืองพลังงาน
3.แล้วมันก็เกิดการแยกชั้นของน้ำมันด้านบนและกลีเซอรีนด้านล่างแล้วนำส่วนของน้ำมันไปทำการแยกethanolออกเพราะยังมีalcholอยู่ ส่วนของกลีเซอรีนนำไปใช้ประโยชน์ต่อโดยไปทำเครื่องสำอางต่อได้อีกด้วย
ถ้าเราออกน้ำมันที่ใช้แล้วมากๆมาใช้มันจะใช้ไม่ค่อยได้ดีว่าน้ำมั้นที่ใช้แล้วครั้งสองครั้งเพราะน้ำมันของเราจะถูกเปลี่ยนไปเป็นกลีเซอรีนจนหมดไม่เหลือส่วนของกรดไขมัน
 ที่นี้เป็นโรงสีตัวอย่าง
จากส่วนของข้าวทุกส่วนมีประโยชน์ทุกอย่าง
1.เม็ดข้าวแยกออกมาได้แกลบกับข้าวกล้อง โดยแกลบจะเอาไปทำเป็นถ่านต่อได้แล้วส่วนที่ได้จากการทำถ่านจะเป็นส่วนน้ำสีดำๆเราจะเอาไปทำเป็นปุ๋ยต่อ
2.ข้าวกล้องถ้านำมาทำต่อจะได้เป็นข้าวซ่อมมือกับรำข้าวซึ่งรำข้าวนี้สามารถนำไปทำเป็นอาหารสัตว์ได้ต่อ
3.ถ้านำเอาข้าวซ้อมมือมาทำต่อจะก็จะได้เป็นส่วนของข้าวขาวที่เรากินกับส่วนของจมูกข้าวและปลายข้าวซึ่งส่วนนี้ที่ได้ทางสวนจิตรลดาได้นำไปทำเป็นโจ็กกระป๋องซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ทางสวนจิตร

  จะเห็นได้ว่าไม่มีส่วนที่เหลือออกมาจากข้าวแล้วนำไปทิ้งเลย เช่นเดี่ยวกับผลิตภัณฑ์อื่นๆของทางโรงงานที่นี่ ตัวอย่างนมที่ล้นตลาดทำให้เกิดราคาตกโดยในหลวงของเราได้ทำนมมาทำเป็นนมอัดเมล็ดซึ่งทำให้เก็บปริมาณน้ำนมที่เกินไว้ได้ไม่ให้ทิ้งไป

ที่นี้เป็นส่วนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของทางส่วนจิตร ซึ่งเป็นการอนุรักษ์พันพืชไว้

ที่นี้ยังมีอะไรอีกมากมาย